สถาปัตยกรรมภายในอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1


การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
INTERIOR DESIGN CONCEPT

 

รูปแบบสถาปัตยกรรมภายใน  เน้นความเป็นไทย ฝ้า – ลายจักสานและลายผ้าไหม 

เสา – ค้ำยันและพญานาค 

 

 ผนัง – กระเบื้องศิลาดล 

   ช่องเปิด – หลังคากูบช้าง 

 

 

รูปแบบสถาปัตยกรรมภายใน

 จัดสวนภายในแบบไทย

 

การออกแบบอาคารยั่งยืน

SUSTAINABLE BUILDING DESIGN

 

•     LEED – NC

     - อาคารประหยัดพลังงาน                         - นำน้ำเสียกลับมาใช้

     - ใช้แสงธรรมชาติลดการเปิดไฟ                  - ใช้ Solar Cell ช่วยลดการใช้พลังงาน

     - ติดอุปกรณ์กันความร้อน                          - ลดการสร้างมลพิษสู่ภายนอก

 

 

สิ่งอำนวยความสะดวกภายในอาคาร

FUNCTIONAL CONCEPT

 

 

 

 ส่วนที่นั่งพักคอย 

Open Gate  ได้ตามมาตรฐานสากล  ส่วนเข้าแถวรอกว้างและ  สะดวกสบาย

 

 

 ห้องน้ำผู้โดยสาร

เพียงพอตามมาตรฐานสากล รองรับผู้โดยสารที่มาใช้พร้อมๆกัน จำนวนมาก อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม

 

 

โถงพักคอยผู้โดยสารรถบัส


เผื่อการขยายในอนาคต จอดเทียบรถรับส่งได้สะดวก โถงพักคอยบรรยากาศดี มองเห็นวิว และสวนภายใน

 

 

 

พื้นที่ร้านค้าและสันทนาการ CONCESSION FACILITY PLANNING STRATEGY 

ร้านค้า CONCESSION อยู่ในตำแหน่งที่เห็นได้ชัด ผู้โดยสารเดินผ่านตลอดเวลา มีผู้เชี่ยวชาญในทีมให้คำปรึกษา

 

 

พื้นที่บริการผู้โดยสารพิเศษ / SKY LOUNGE 

มองเห็นได้ชัด ขึ้นมาใช้ได้สะดวก นั่งพักผ่อนและชมวิวสนามบิน

ทางสัญจรผู้โดยสารขาออก


DEPARTURE FLOW
เส้นทางสัญจรผู้โดยสารขาออก

1. จากสถานีรถ APM
2. ขึ้นบันไดเลื่อน
3. มายังพื้นที่โถงผู้โดยสารขาออก
4. เดินตามทางเดิน / ทางเลื่อน
5. ไปยังที่พักคอยผู้โดยสาร / โถงพักคอย ผู้โดยสารรถบัส 

 

 

ทางสัญจรผู้โดยสารขาเข้า
ARRIVAL FLOW

เส้นทางสัญจรผู้โดยสารขาเข้า

1. จากสะพานเทียบเครื่องบิน / โถงรับ  ผู้โดยสารรถบัสขาเข้า
2. เดินตามทางเดิน / ทางเลื่อน
3. มายังพื้นที่โถงผู้โดยสารขาเข้า
4. ลงบันไดเลื่อน / ไปยังจุดผู้โดยสาร เปลี่ยนเครื่อง
5. ขึ้นรถ APM เพื่อไปยัง อาคาร ผู้โดยสารหลัก

ทางสัญจรผู้โดยสารเปลี่ยนเครื่อง
TRANSFER FLOW

เส้นทางสัญจรผู้โดยสารเปลี่ยนเครื่อง

1. จากสะพานเทียบเครื่องบิน
2. เดินตามทางเดิน / ทางเลื่อน
3. มายังพื้นที่โถงผู้โดยสารขาออก
4. เข้ามายังพื้นตรวจค้น / ติดต่อที่เคาท์ เตอร์สายการบิน 
5. ขึ้นบันไดเลื่อนมายังชั้นผู้โดยสารขาออก 
6. ไปยังที่พักคอยผู้โดยสารขาออกเพื่อทำการขึ้นเครื่องบินต่อไป

 


ผังพื้น
PLAN

 

 

 

รูปตัด

SECTION

 

 

รูปด้าน

ELEVATION

 

 

แนวความคิดในการออกแบบระบบไฟฟ้ากำลัง

ออกแบบให้เป็นไปตามมาตรฐาน และเป็นอาคารประหยัดพลังงาน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ออกแบบและจ่ายไฟฟ้าแบบ N+1 ให้ระบบสามารถสับถ่ายโหลดทดแทนกันได้

 

 

 

การจ่ายไฟ ในแต่ละพื้นที่ของอาคาร

- ออกแบบแยกออกเป็น 6 โซน

- แต่ละโซน มีห้องไฟฟ้าควบคุม

- ห้องไฟฟ้า รับโหลด ไม่เกิน 3,000 ตร.ม.

 

 

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ภาพรวมเบื้องต้นในการออกแบบและจัดหาระบบที่เกี่ยวข้อง

 

 

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

-งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

-ระบบโทรศัพท์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ระบบเสียงประกาศ

 

ระบบโทรทัศน์เสาอากาศรวม (MATV-Master Antenna TV)

-ระบบจ่ายสัญญาณโทรทัศน์ ออกแบบเป็น ระบบ IPTV ใช้การส่งข้อมูลผ่านระบบ Ethernet โดยมีอุปกรณ์ถอดรหัสสัญญาณเป็น Set Top Box เพื่อส่งสัญญาณออกทาง TV

-ภาครับสัญญาณ ใช้เสาอากาศและจานดาวเทียมเดิม เพิ่มเติมในส่วน IPTV HEAD END, VDO Server และอุปกรณ์ประกอบ

-ในการแพร่ภาพ สัญญาณต่างๆ จะจัดเตรียมโดย Provider รายอื่นๆ

-ระบบจะถูกออกแบบเพื่อให้รองรับ Content ที่หลากหลายจากทาง Provider ได้

 

 

 

 

ระบบบริหารจัดการอาคาร (BMS-Building Management System)

  ระบบ BMS จะประกอบไปด้วย

 

 

SCADA (Supervisory Control And Data Acquisition)

-ตรวจสอบสถานะ ระบบไฟฟ้า 

LCS (Lighting Control System)

-ควบคุมอุปกรณ์การเปิด ปิดไฟแสงสว่างทุกพื้นที่

BAS (Building Automation System)

 -ตรวจวัด, วิเคราะห์ และประมวลผลเพื่อควบคุมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ให้ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด โดยทำงานร่วมกับระบบ SCADA 

 

ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ไดอะแกรมระบบส่งจ่ายน้ำเย็น  ระบบปรับอากาศ

ระบบส่งจ่ายน้ำเย็น PCA (กรณีเลือกระบบ Centralized)

ระบบระบายอากาศพื้นที่ BHS

ระบบระบายอากาศพื้นที่ BHS ชั้น B2

ระบบกระจายลมเย็นในอาคาร

 

 

ระบบประปาและสุขาภิบาล

 

ระบบจ่ายน้ำประปา

ระบบระบายน้ำ

 

ระบบป้องกันอัคคีภัย

 

ระบบอัดอากาศและระบายควัน

ไดอะแกรมระบบท่อน้ำดับเพลิง

 

ไดอะแกรมระบบดับเพลิงสารสะอาด

 

ระบบหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ

 

ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

- รายงานไป ห้องควบคุมอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1(SAT-1)

- รายงานไป ศูนย์ควบคุมกลางของหน่วยดับเพลิงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ผ่านระบบ AIMS

 

 

ระบบรักษาความปลอดภัย

 “ความปลอดภัยอย่างเข้มงวดภายใต้ความสะดวกสบาย”

 

- ระบบโทรทัศน์วงจรปิด

- ระบบควบคุมการเข้าออก

- ระบบดับเพลิง

 

 

ระบบความปลอดภัยต่อชีวิต

 

การจัดการควัน

 

ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้