สถาปัตยกรรมภายนอกอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1


                            ลักษณะของโครงการ                                

 

     1. อาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1

     2. ลานจอดอากาศยาน

     3. ส่วนต่อขยายอุโมงค์ทางด้านทิศใต้

     4. ระบบขนส่งผู้โดยสาร

     5. ระบบสายพานลำเลียงกระเป๋า

 

 

 การออกแบบสถาปัตยกรรม

ARCHITECTURAL DESIGN CONCEPT

 •     เข้ากับอาคารปัจจุบัน    •     มีความเป็นไทย

ทัศนียภาพโครงการ

ทัศนียภาพโครงการ

 

รูปแบบสถาปัตยกรรม  

รุปแบบสถาปัตยกรรม•    ออกแบบให้เป็นระบบ Modular  เพื่อก่อสร้างได้เร็ว        

                                                       •    ใช้วัสดุที่ผลิตในประเทศดูแลรักษาง่าย

 

 

 การออกแบบอาคารยั่งยืน

SUSTAINABLE BUILDING DESIGN

 

 

   - อาคารประหยัดพลังงาน                           - นำน้ำเสียกลับมาใช้

   - ใช้แสงธรรมชาติลดการเปิดไฟ                   - ใช้ Solar Cell ช่วยลดการใช้ พลังงาน

    - ติดอุปกรณ์กันความร้อน                          - ลดการสร้างมลพิษสู่ภายนอก

 

 

           

 รูปตัด

SECTION

 

รูปด้าน

ELEVATION

 

 

แรงแผ่นดินไหว (Earthquake Load)

ตามมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ.1302-52   กรมโยธาธิการและผังเมือง   กระทรวงมหาดไทย

 

 

เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria)

เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria)

  3.1  U   =   1.7D + 2.0L

  3.2   U   =   0.75(1.7D + 2.0L + 2.0W)

  3.3  U   =   0.9D + 1.3W

  3.4  U   =   0.75(1.5D + 2.0L + 2.0E)

  3.5  U   =   0.9D + 1.3E

 

NOTE ตามกฏกระทรวง มยผ.

  U : Factored  Load 

 

  D : Dead Load

  L : Live Load

  W :  Wind Load

  E : Earthquake Load

 

 

 

แผนที่แบ่งเขตแผ่นดินไหวสำหรับในประเทศไทย

(เป็นหนึ่งและอาเด ,2537)

 

ความรุนแรงตามมาตราริกเตอร์ เทียบกับ มาตราเมอร์คัลลี

1.1 – 3.0 = I 

3.0 - 3.9 = II - III 

4.0 - 4.9 = IV - V

5.0 - 5.9 = VI - VII

6.0 - 6.9 = VII - IX

7.0 + = VIII หรือมากกว่านั้น

 

 

การแบ่งประเภทของสมรรถนะต้านทานแผ่นดินไหว

เขตเสี่ยงแผ่นดินไหว

สัมประสิทธิ์ของความเข้มของแผ่นดินไหว (Z)

*UBC 1985, กฎกระทรวง 2550

**UBC 1988 ถึง UBC 1997

4

 1.0  0.4

3

3/4 = 0.75

 0.3

2A

3/8 = 0.375

 0.2

2B

3/8 = 0.375

 0.2

1

3/16 = 0.1875

 0.075

*UBC 1985 ใช้ค่าเท่ากับ 1.0 สำหรับเขตที่แผ่นดินไหวรุนแรงที่สุด และใช้ค่าลดเป็นสัดส่วนลงมา

 

สำหรับเขตที่มีความรุนแรงของแผ่นดินไหวต่ำลง โดยที่ไม่มีความหมายทางกายภาพ

**UBC 1997 เป็นค่าเทียบเท่ากับความเร่งสูงสุดในแนวราบของพื้นดิน (Peak Ground Acceleration , PGA ) ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในเขตนั้น และค่าอยู่ในรูปร้อยละของความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก (PGA/g) มีค่าความน่าจะเป็นเกินกว่าที่กำหนดนี้เพียง 1 ใน 10 ในคาบเวลา 50 ปี (โดยมีคาบการกลับ (return period) ประมาณ 475 ปี)

 

การเจาะสำรวจดิน 12หลุม สำหรับ SAT-1& ST

 

  ระบบโครงสร้างพื้น

    ระบบพื้นชั้นใต้ดิน (B2)

พื้นชั้นใต้ดินใช้ระบบพื้น คอนกรีตเสริมเหล็กไร้คาน

   (Reinforced Concrete Flat Slab)

 

ระบบพื้นชั้นใต้ดิน (B2)

 

ทางเลือกใช้ DIAPHRAGM WALLควบคุมการรั่วซึมของน้ำใต้ดินระหว่างการก่อสร้างได้ดี ลดปริมาณการเคลื่อนตัวของดินรอบพื้นที่ก่อสร้างได้ดี

 

ระบบพื้นชั้นใต้ดิน (ระดับ -5.00 เมตร)

   

พื้นชั้นใต้ดินใช้ระบบพื้น คอนกรีตเสริมเหล็กไร้คาน(Reinforced Concrete Flat Slab)

 

ระบบพื้นชั้นล่าง

 

 

 

พื้นชั้นล่างใช้ระบบพื้น คอนกรีตเสริมเหล็กไร้คาน(Reinforced Concrete Flat Slab)

 

ระบบพื้นชั้น 2และชั้น 3

  พื้นชั้น 2, 3 ใช้ระบบพื้น คอนกรีตอัดแรงไร้คาน (Post-Tensioned Concrete Flat Slab)

 

  ระบบพื้นชั้น 4

 

 พื้นชั้น 4 ใช้ระบบพื้น คอนกรีตอัดแรงไร้คาน (Post-Tensioned Concrete Flat Slab)

 

  ระบบเสา

Reinforced Concrete Column

 

ระบบโครงหลังคา

 

 เป็นโครงหลังคาเหล็ก(Structural Steel Beam)

 

 

 

 

 

พื้นผิวระบายน้ำ

สัมประสิทธิ์การไหล, C

หลังคา

 0.95

ถนนผิวยางแอลฟัลต์

 0.95

ถนนผิวคอนกรีต

 0.90

ผิวดินแข็ง

 0.65

ผิวดินสนามหญ้า

 0.55